Computer Language

ตัวแปลภาษา

อินเตอร์พรีเตอร์ (Interpreter) เช่น ภาษาเบสิก การทำ งานจะแปลความ หมายของคำ สั่งทีละคำ สั่ง ถ้าไม่พบข้อผิดพลาดเครื่องจะทำ งานตามคำ สั่งที่แปลได้ แต่ถ้าพบข้อผิด พลาดจะหยุดทำ งานและแจ้งข้อผิดพลาดออกมา

คอมไพเลอร์ (Compiler) โดยจะทำ การแปลงโปรแกรมต้นฉบับทั้งหมดให้เป็นรหัสภาษาเครื่อง และถ้า พบขอ้ ผดิ พลาดกจ็ ะแจง้ ออกมา ข้อดีคือ การแปลงแบบนี้ก็คือ จะทำงานได้เร็วขึ้น เพราะเครื่องไม่ต้อง แปลอีกเมื่อถึงคำ สั่งถัดไป

ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม

1.การวิเคราะห์ปัญหาเป็นขั้นตอนแรกสุด ตอนแรกสุดที่นักเขียนโปรแกรมต้องทำ มีขั้นตอนย่อย ๆ ดังนี้

  • กำหนดขอบเขตของปัญหา โดยการกำ หนดให้ชัดเจนว่าจะทำ งานอะไร ตัวแปรค่าคงที่ ที่ต้องใช้มี ลักษณะใด
  • กำหนดลักษณะของข้อมูลเข้าและออกจากระบบ (Input/Output Specification) กำ หนดว่าข้อมูลที่ จะส่งเข้าถึงผู้ใช้เป็นหลัก
  • กำหนดวิธีการประมวลผล (Process Specification)

2.การเขียนผังงาน หลังจากได้เคราะห์ปัญหาแล้ว ขั้นตอนต่อมาจะเป็นการเขียนผังงาน โดยใช้เครืองมือในการออก แบบ ซึ่งยังไม่ได้เขียนเป็นโปรแกรมจริง ๆ โดยลำ ดับขั้นตอนของการทำงานโปรแกรม เราเรียกว่า อัลกอริทึม (Algorithm) โดยจะถูกเขียนอยู่ในรูปของ ซูโดโค้ด (Pseudo Code) หรือ เขียนเป็นผังงาน (Flowchart) โดยแต่ละส่วนจะเป็นแนวทางในการเขียนโปรแกรมได้ง่ายขึ้น
3.การเขียนโปรแกรม ขั้นตอนนี้เ ป็นขั้นของการเขียนโปรแกรม เพื่อให้คอมพิวเตอร์สามารถประมวลผลได้ การเขียน โปรแกรมจะต้องเขียนตามภาษาที่คอมพิวเตอร์เข้าใจ โดยจะใช้ภาษาระดับใดก็ได้  ซึ่งจะต้องเขียนให้ถูก หลักไวยากรณ์ (Syntax) ของภาษานั้น ๆ
4.การทดสอบและแก้ไขโปรแกรม หลังจากการเขียนโปรแกรมจะต้องทดสอบความถูกต้องของโปรแกรมที่เขียนขึ้นว่ามีข้อผิดพลาดหรือ ไม่ ซึ่งเรียกว่า ดีบัก (Debug) ซึ่งโดยทั่วไปข้อผิดพลาด (Bug) มี 2 ประเภท คือ
1.! Syntax error คือ การเขียนคำ สั่งไม่ถูกต้องตามหลักการเขียนโปรแกรมของภาษานั้น ๆ โปรแกรม จะไม่สามารถทำงานได้
2.! Logic error เป็นข้อผิดพลาดทางตรรกะ โปรแกรมสามารถทำงานได้แต่ผลลัพธ์จะไม่ถูกต้อง

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *